วันเสาร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556

ศึกษาดูงานโรงเรียนเทศบาลบ้านทุ่ม

กิจกรรมการพัฒนาบุคลากร
การศึกษาดูงานด้านการบริหาร
บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย


ประเภทกิจกรรม
การศึกษาดูงานด้านการบริหาร

ความสอดคล้อง
1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนา: ควรใช้เครือข่ายความร่วมมือในการสร้างความเข้มแข็งในการบริหาร   
2. ปรัชญา: เพิ่มคุณค่าและความรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางการบริหารจัดการ
3. ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
4. ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

บุคลากรผู้ศึกษาดูงาน
ดร.อาทิตย์ ฉัตรชัยพลรัตน์ คณบดี  บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย

รายละเอียด
ดร.อาทิตย์ ฉัตรชัยพลรัตน์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย พร้อมคณะครู ผอ.กองการศึกษา ผอ.โรงเรียนอนุบาลสาธิตบ้านไผ่ร่วมต้อนรับ คณะศึกษาดูงานจากโรงเรียนเทศบาลบ้านทุ่ม นำโดยดร.สนธยา บำรุง ผอ.โรงเรียนเทศบาลบ้านทุ่ม เพื่อศึกษาหลักแนวคิดการบริหารงาน บริหารคน ภายใต้ระเบียบ และกรอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำหนดไว้

ระยะเวลา

เมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2556 

สถานที่ 
โรงเรียนเทศบาลบ้านทุ่ม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น








หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตดูงานกัมพูชา

โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรศึกษาดูงานนอกสถานที่
นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา
ณ เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา
 บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

ผู้รับผิดชอบโครงการ
นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา
ภายใต้การกำกับดูแลของ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

ประเภทของโครงการ
เป็นโครงการบูรณาการระหว่างการจัดการเรียนการสอน การพัฒนานักศึกษา และ ศิลปวัฒนธรรม

หลักการและเหตุผล
ตามที่บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย ได้จัดให้มีการเรียนการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา  เพื่อให้การเรียนการสอนดังกล่าว เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บัณฑิตวิทยาลัยได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การเปิดโอกาสให้ นักศึกษาไปศึกษาดูงาน นอกสถานที่ เพื่อประกอบการเรียนการสอนนั้น จะเป็นประโยชน์แก่  นักศึกษาอย่างยิ่ง  เนื่องจากจะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ ให้นักศึกษาโดยตรง

ความสอดคล้อง
โครงการนี้มีความสอดคล้องดังนี้
1.    วิสัยทัศน์: การสร้างมาตรฐานการศึกษาให้เป็นสากล
2.    เอกลักษณ์ของวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย: สานสัมพันธ์กับนานาชาติ
3.    อัตลักษณ์นักศึกษาทางด้านเก่งและมีภาวะผู้นำ
4.    ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
5.    ยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการวิชาการแก่สังคมและการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
6.    ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเสริมสร้างความสัมพันธ์ และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์กับนานาชาติ
7.    เป้าหมายยุทธศาสตร์ข้อที่ 1: เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นและวัฒนธรรมที่แตกต่างเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความร่วมมือให้เกิดขึ้นในสังคม

วัตถุประสงค์
1.           เพื่อเปิดโลกทัศน์ และเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการบริหารการศึกษาในประเทศเพื่อนบ้านให้นักศึกษา
2.           เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ทางด้านบริหารการศึกษาให้กับนักศึกษา 
3.           เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสประสานแนวคิดทางวิชาการกับสภาพจริงที่ได้พบเห็นในการศึกษาดูงานนอกสถานที่
4.           เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรมของประเทศกัมพูชา
5.           เพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำของนักศึกษาโดยสนับสนุนให้นักศึกษาเรียนรู้การบริหารโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
วันที่ 15-17 มีนาคม 2556

สถานที่
ณ เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา

วิธีการดำเนินงาน
1.    เยี่ยมชมโรงเรียนวัดโบ เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา
2.    อภิปรายและซักซ้อมถามปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของหน่วยงานที่ไปดูงาน
3.    อภิปรายกลุ่มย่อยเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับจากการดูงาน
4.    เยี่ยมชมปราสาทตราพรหม ปราสาทนครวัด
5.    นำเสนอสรุปผลการศึกษาดูงานเป็นรูปเล่ม

วิทยากร
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดโบ เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา

ผู้เข้าร่วมโครงการ :
1. อาจารย์ร่วมศึกษาดูงาน                                    8      คน
2. นักศึกษา                                                     56      คน
3. บุคคลทั่วไป                                                 12      คน
                                                  รวม                      76      คน

งบประมาณ
โปรดศึกษารายละเอียดจากรายงานสรุปโครงการฯ

การติดตามและประเมินผล
นำเสนอสรุปผลการศึกษาดูงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและใช้แบบ สอบถามในการประเมินผลโครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เข้าร่วมการศึกษาดูงาน มีความรู้ความเข้าใจ และมีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษาที่กว้างขึ้น พร้อมทั้งเป็นการกระตุ้นให้เป็นการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต


ผู้เสนอโครงการ          ดร.อาทิตย์  ฉัตรชัยพลรัตน์
                              (ดร.อาทิตย์  ฉัตรชัยพลรัตน์)
                                  ผู้อำนวยการหลักสูตร

ผู้อนุมัติโครงการ        ดร.กษม  ชนะวงศ์
                              (ดร.กษม  ชนะวงศ์)
                                    อธิการบดี 


























เจ้าภาพร่วมการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย
1 พ.ย.2555 - 29 มี.ค.2556

บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย เป็นเจ้าภาพร่วมในการประชุม
วิชาการและเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่1
“การส่งเสริมความรู้เชิงบูรณาการสู่ประชาคมอาเซียน" 
ณ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


เริ่มรับบทความวิจัย 1 พ.ย.2555
วันสิ้นสุดรับบทความ 24 ธ.ค. 2555
สัมมนาทางวิชาการและเสนอผลงงานวิจัย 29 มี.ค.2556
รายละเอียดเพิ่มเติมที่http://www.conference.neu.ac.th www.neu.ac.th














การศึกษาดูงานโรงเรียนนอกกะลา

บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย
5 มีนาคม 2556

โครงการศึกษาดูงาน
โรงเรียน นอกกะลา ลำปลายมาศพัฒนา

จ.บุรีรัมย์ ของ ครูใหญ่ อ.วิเชียร ไชยบัง














ธนาคารความรู้โรงเรียนนอกกะลา

  1. โรงเรียนนอกกะลา

    lamplaimatpattanaschool.blogspot.com/

    13 ส.ค. 2556 - ท่ามกลางแสงแดดร้อนเปรี้ยงตอนแปดโมงครึ่ง เด็กๆ ยืนอาบเหงื่อชุ่มโชกเพื่อทำกิจกรรมหน้าเสาธง ทั้งที่ครูส่วนใหญ่ยืนดูอยู่ในร่มเพราะกลัวใบหน้าเป็นฝ้า ...

  2. เครือข่ายโรงเรียนนอกกะลา

    lpmpgroup.blogspot.com/

    เครือข่ายโรงเรียนนอกกะลา. Professional Learning Community ( PLC) ร่วมสร้างชุมชนเเห่งการเเลกเปลี่ยเรียนรู้. วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 ...

  3. โรงเรียนนอกกะลา1/2 - YouTube

    www.youtube.com/watch?v=-PKv3kUrZ6o

    24 ส.ค. 2552 - อัปโหลดโดย Lamplaimat Pattana School Training
    โรงเรียนนอกกะลา ปฏิวัติการศึกษา ณ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา รายการเถ้าแก่ติดดาว.

  4. โรงเรียนนอกกะลา - GotoKnow

    www.gotoknow.org › หน้าแรก › pilgrim › สมุด

    ร่วมบันทึกการใช้สังคมออนไลน์ของหน่วยงานภาครัฐ (ลุ้นรางวัล หมดเขต 31 สค.) pilgrim. สรินยา กิจประยูร. ติดตาม: 0. ผู้ติดตาม: 0. เด็กอ่านไม่ออก เพราะจำสระไม่ได้. อ่าน 1,951 ...
  5. รูปภาพสำหรับ โรงเรียนนอกกะลา

     - รายงานรูปภาพ

  6. ศึกษาดูงาน โรงเรียนนอกกะลา - โรงเรียนบ้านเจาทอง

    bjt.chaiyaphum1.com/activity/suksadunganrongreiynnxkkala

    โพสต์11 ก.ค. 2556, 20:52โดยThananan Chantharang. รูปกิจกรรม คณะครูโรงเรียนบ้านเจา ศึกษาดูงาน โรงเรียนนอกกะลา. Comments. โรงเรียนบ้านเจาทอง ต.เจาทอง อ.

  7. ลำปลายมาศพัฒนา LPMP - โรงเรียนนอกกะลา จิตวิวัฒน์

    เขียนโดย ครูอ้อน. ศุกร์, 28 สิงหาคม 2009. โรงเรียนนอกกะลา. โดย ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันที่ 15 สิงหาคม 2552 “เราทำไม่ได้หรอก” ...

  8. โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา - วิกิพีเดีย

    th.wikipedia.org/wiki/โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา

    โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา หรือ "โรงเรียนนอกกะลา" เป็นโรงเรียนเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร ในสังกัดของ กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 ...

  9. Lamplaimat Pattana School | Facebook

    https://www.facebook.com/lamplaimatpattanaschool

    แม่ผู้หญิงที่น่ารักที่สุดในโลก... ขอบคุณแม่ที่ทำกับข้าวอร่อยให้กินทุกวันครับ... ขอบคุณแม่ที่ดูแลหนูค่ะ ขอบคุณแม่ที่ไม่โกรธเวลาหนูดื้อ.... ข้อความจากพี่ปอหก โรงเรียนนอกกะลา.

  10. ข้าวโรงเรียนนอกกะลา

    lpmp-riceschool.blogspot.com/

    28 ส.ค. 2556 - ข้าวนาโรงเรียนอายุ 7 สัปดาห์ โดยทั่วไปข้าวเจริญเติบโตดี ยกเว้นแปลงที่ 3 ที่สีของต้นข้าวยังไม่เขียวสม่ำเสมอทั้งแปลง บางบริเวณสีเขียวอมเหลือง ...

  11. Thai PBS ชมย้อนหลัง สถานีสีเขียว โรงเรียนนอกกะลา บ้านลุงสอนหลาน

    clip.thaipbs.or.th/home.php?vid=7734&ap=flase

    25 ส.ค. 2556 - พาคุณผู้ชมไปที่โรงเรียนนอกกะลา ซึ่งเป็นสถานที่ๆลุงๆป้าๆเขานำเอาประสบการณ์ชีวิต ที่ตกทอดและสั่งสมมา นำมาสอนมาบอกเล่าให้นักเรียน ...
  1. Inspiration: โรงเรียนนอกกะลา

    inspiration-jubjub.blogspot.com/2009/12/blog-post_702.html

    7 ธ.ค. 2552 - http://lamplaimatpattanaschool.blogspot.com/. อ่านจบไปตั้งแต่เดือนที่แล้วกับหนังสือ โรงเรียนนอกกะลา ที่เด็กในกะลาครอบอย่างเรา ได้แต่ทำตากริบๆ ...

  2. PANTIP.COM : U11625617 โรงเรียนนอกกะลา [สังคม]

    topicstock.pantip.com/social/topicstock/2012/01/.../U11625617.html

    26 ม.ค. 2555 - โดย ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันที่ 15 สิงหาคม 2552 “เราทำไม่ได้หรอก” เป็นคำพูดที่คุณครูวิเชียร ไชยบัง ...

  3. เรื่องเล่านอกกะลา - กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์

    www.bangkokbiznews.com/home/detail/life.../เรื่องเล่านอกกะลา.html

    21 ก.ค. 2554 - โรงเรียนนอกกะลาของครูนอกกะลามีเสาธงอยู่หน้าอาคาร แต่ไม่ได้เป็นจุดรวมพลที่ทุกเช้านักเรียนต้องมาเข้าแถวเคารพธงชาติ และฟังครูอบรมปากเปียกปากแฉะ.

  4. โรงเรียนนอกกะลา : ลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ - OKnation

    www.oknation.net/blog/wanida1969/2011/06/30/entry-1

    30 มิ.ย. 2554 - โรงเรียนที่กล้าประกาศว่า "จะไม่ละทิ้งเด็กแม้แต่คนเดียว" นี่คือแนวคิดสำคัญของโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดย ...

  5. โรงเรียนนอกกะลา พลังความรั้น ผลักดันโลก - Sujit Wongthes

    www.sujitwongthes.com/2010/08/โรงเรียนนอกกะลา-พลังควา/

    มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553. “กรอบความคิด และวิธีการเดิมๆของการเรียนการสอน ได้สร้างผู้ตามของเมื่อวานมากกว่าสร้างผู้นำในอนาคต.

  6. ครูนอกกะลา: โรงเรียนนอกกะลา - วิเชียร ไชยบัง

    krunongkala.blogspot.com/2012/04/blog-post_03.html

    3 เม.ย. 2555 - โรงเรียนที่ไม่มีเสียงออดเสียงระฆัง โรงเรียนที่ไม่มีดาวให้ผู้เรียน โรงเรียนที่ไม่ต้องใช้แบบเรียน โรงเรียนที่ไม่มีครูอบรมหน้าเสาธง

  7. สถานีสีเขียว (โรงเรียนนอกกะลา บ้านลุงสอนหลาน) 25 สิงหาคม 2556

    www.dooeii.com/71914.html

    25 ส.ค. 2556 - สถานีสีเขียว - โรงเรียนนอกกะลา บ้านลุงสอนหลาน 25Aug13.

  8. โรงเรียนนอกกะลานวัตกรรมการศึกษารูปแบบใหม่ - ฉลาดทันกาล | เดลินิวส์

    www.dailynews.co.th/technology/146519

    โรงเรียนนอกกะลานวัตกรรมการศึกษารูปแบบใหม่ - ฉลาดทันกาล. วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2555 เวลา 00:00 น. การศึกษาถือเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาประเทศ ...

  9. โรงเรียนนอกกะลา - ซีเอ็ด

    https://www.se-ed.com/product/โรงเรียนนอกกะลา.aspx?no...

    หนังสือเล่มนี้ถือเป็น "คู่มือ" อันล้ำค่าของครูที่ไม่ลงรายละเอียดของเนื้อหา ทฤษฏี เพราะไม่ใช่แค่ "ตำรา" แต่บอกเล่าสิ่งที่น่ารู้ บอกเล่าสิ่งที่ทำ เล่าไปเรื่อยๆ คุณผู้อ่านต้อง "ผูกโยง" และ ...

  10. Shi.or.th - โรงเรียนนอกกะลา : โรงเรียนลำปลาศมายพัฒนา

    www.shi.or.th/content/10077/1/

    5 ส.ค. 2554 - ทุ่งนาเขียวขจียามเช้าแลดูชุ่มฉ่ำสดชื่นหลังจากได้ชโลมอาบน้ำฝนที่เทลงมาอย่างหนักเมื่อคืนที่ผ่านมา วันนี้พวกเราพร้อมใจกันออกเดินทางจากที่พักตั้งแต่เช้ามืด ...

ความเห็นของศิษย์เก่า

ความเห็นของศิษย์เก่า

ความเห็นของมหาบัณฑิต

บัณฑิตคุณภาพ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
(คุณPacharawit Chansirisira)

กระผมขอขอบพระคุณอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ทุกท่านที่คอยแนะนำช่วยเหลือให้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทและขอบคุณพี่น้องพ้องเพื่อนทุกคนที่เป็นกำลังใจคับ
(คุณครู ผ้าด้าม)

วันนี้ไปยื่นขอจบการศึกษาแล้วครับ.....ขอกราบขอบพระคุณวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย คุณหมอกระแส ท่านอธิการบดีกษม ดร.อาทิตย์และคณาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัยทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์แก่กระผมและผองเพื่อนกลุ่มเมืองพลมาโดยตลอด พวกผมเรียกได้ว่า
"มีวันนี้เพราะที่นี่ให้ จบอย่างไม่อายใคร ภาคภูมิใจและสมศักดิ์ศรี"
(คุณเชาวรินทร์ แก้วพรม)

ตอบเต็มเสียงได้เลยว่า "จบจากวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย"
(คุณKai Thamkaew)

ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้กำลังใจมาโดยตลอด หลายต่อหลายครั้งที่ท้อแท้ เหน็ดเหนื่อย แต่ก็มีกำลังใจ เพียงข้อความสั้นๆหรือคำพูดไม่กี่คำ แต่มันคือเชื้อเพลิงเติมแรงใจให้วิ่งไปข้างหน้าจนมาถึงวันนี้ อยากบอกว่าที่นี่ไม่ใช่แค่สถาบันให้ความรู้แต่เปรียบเสมือนบ้านหลังหนึ่งถึงไม่ใช่บ้านหลังใหญ่แต่มีความอบอุ่นที่ได้มาอยู่บ้านหนังนี้ นี่คือความรู้สึกจริงกลั่นมาจากก้นบึ้งของหัวใจ หลังจากจบจากที่นี่คงมีโอกาสได้เจอกันน้อยลง แทนคำขอบคุณให้พี่ๆและอาจารย์ทุกท่านค่ะ
(คุณSriudom Sudarut )

ผมอยากบอกกับนักศึกษาทุกคนว่า ผมภูมิใจที่จบจากบัณฑิตเอเซีย
(คุณChoochart Phimga )

Historical of CAS .

Historical of CAS .
CAS was founded by Prof. Dr.krasae Chanawongse, a recipient of the Ramon Magsayay award for community Leadership in 1973.Locate at 179/137 Prachasmosorn RD., Nai Muang Subdistrict,Muang district,Khon kaen City . CAS grown very fast, At the beginning in 2002,start with the Bachelor level in the Faculty of Business Administration but now was grown to 5 Bachelor degree in the business administration,liberal arts, law, nursing, and information technology fields and 3 Master degree in Business administration and Education administration and Public health. Dr. Kasom Cannawongse, President.

Professor Krasae Chanawongse said.

Professor Krasae Chanawongse said.
SAMURAI must NO FEAR, NO SURPRISE,NO DOUBT, NO HESITATE . หมายถึง ถ้าได้รับมอบหมายหรือ ตัดสินใจทำอะไร ก็ต้องทำให้สำเร็จ โดยปราศจากความกลัว ความประหลาดใจ ความสงสัย และความลังเล เฉกเช่นซามูไร เมื่อได้รับภารกิจแล้วต้องทำให้สำเร็จแม้ตัวตาย ท่านยังได้อธิบายเพิ่มเติมอีกว่า เหมือนกับเราได้รับมอบหมายงานให้ทำ ก็ต้องทำ โดยไม่มีคำว่า"กลัวไม่สำเร็จ(no fear)" ไม่รู้สึกประหลาดใจ(no surprise)ที่มีคนดูถูกว่า อย่างคุณคงทำไม่สำเร็จ "ไม่สงสัย(no doubt)"ว่า ทำไมให้เราทำ ทำแล้วจะสำเร็จหรือไม่ และสุดท้าย เมื่อตัดสินใจแล้ว จงทำโดย"ไม่ลังเล(no hesitate)"

คลังบทความของบล็อก

รวมบทความทั้งหมด

ค้นหาบทความบล็อกนี้